วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ANSI คืออะไร
สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา หรือ แอนซี (American National Standard Institute - ANSI) คือองค์กรในสหรัฐอเมริกา มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) โดยใช้ชื่อว่า American Engineering Standards Committee และได้มีการปรับปรุงในปี พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1928) โดยเปลี่ยนชื่อเป็น American Standards Association ในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ได้มีการจัดตั้งองค์กรนานาชาติขึ้นมา โดยมีประเทศ 25 ประเทศเข้าร่วม และสุดท้ายในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น American National Standard Institute หรือ ANSI ในปัจจุบัน
วันอาทิตย์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ประวัติความเป็นมาของภาษาซี
ภาษาซีพัฒนาขึ้นโดย เดนนิส ริตชี แห่งศูนย์วิจัยเบลล์(Bell Laboratory) มลรัฐนิวเจอร์ซี สหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ.2515 โดยได้รับแนวคิดมาจากภาษาบี (B Language) และมีพัฒนาการ ดังนี้
- พ.ศ.2503 กำเนิดภาษา Algol 60พัฒนาโดยองค์การ International Committee)
- พ.ศ.2506กำเนิดภาษา CPL (Combined Programming Language) พัฒนาโดยมหาวิทยาลัย Cambridge)
- พ.ศ.2510กำเนิดภาษา BCPL (Basic Combined Programming Language) พัฒนาโดย Martin Richards มหาวิทยาลัย Cambridge)
- พ.ศ.2513กำเนิดภาษา B (B Language) พัฒนาโดย Ken Tompson แห่ง Bell Laboratory)
- พ.ศ.2515กำเนิดภาษา C (C Language) พัฒนาโดย Dennis Ritchie)
โครงสร้างพื้นฐานของภาษาซี
ภาษาซีเป็นภาษาโครงสร้างที่มีรูปแบบไวยากรณ์แน่นอน มีคำสั่งให้เลือกใช้งานตามลักษณะงานต่าง ๆ จำนวนมาก โครงสร้างของภาษาซีจะพิจารณาโปรแกรมเป็นส่วนย่อยหลาย ๆ ส่วนมาประกอบกันเข้าเป็นโปรแกรม เรียกส่วน ย่อย ๆ นั้นว่า ฟังก์ชัน (Function) ดังนั้นในโปรแกรมภาษาซีจึงประกอบด้วยฟังก์ชันหลายฟังก์ชันส่วนหนึ่งเป็นฟังก์ชันที่กำหนดตามไวยากรณ์ของภาษา และอีกส่วนหนึ่งเป็นฟังก์ชันที่ผู้เขียนโปรแกรมสร้างขึ้นก่อนที่จะเริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาซี เรามารู้จักกับโครงสร้างของภาษาซี เพื่อให้เข้าใจถึงลักษณะ รูปแบบและหน้าตาของการเขียนโปรแกรมภาษาซี ดังนี้ ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี จะมีลักษณะที่เหมือนกัน แต่อาจจะแบ่งหรือกำหนดเป็นส่วนย่อยที่เรียกชื่อต่างกันไป ในที่นี้จะขอแบ่งโครงสร้างพื้นฐานของภาษาซีออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้# header ส่วนที่ 1{ /* เริ่มโปรแกรม */ main( ) ส่วนที่ 3 declaration ส่วนที่ 2 คำสั่งต่าง ๆ ………}ส่วนที่ 1 ส่วนหัวโปรแกรม (#header) เป็นส่วนแรกของโปรแกรมภาษาซีที่กำหนดไว้ก่อนที่จะมีการประมวลผลในโปรแกรมเรียกว่าพรีโพรเซสเซอร์(Preprocessor) เพื่ออ้างถึงไฟล์บางไฟล์ที่ไม่มีอยู่ในโปรแกรมที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นโดยที่จะต้องนำไฟล์เฮดเดอร์(#header)นั้นมารวมกับไฟล์ที่เขียนขึ้นเอง ในโปรแกรมภาษาซีที่ใช้งานจริงอาจจะมีการเรียกใช้ไฟล์เฮดเดอร์มากกว่า 1 ไฟล์ส่วนใหญ่ไฟล์เฮดเดอร์จะเกี่ยวกับฟังก์ชันของการจัดการ เช่นฟังก์ชันที่เกี่ยวกับการรับและแสดงผลข้อมูล หรือด้านกราฟิก เป็นต้น ดังนั้นส่วนหัวโปรแกรมนี้จึงเป็นส่วนที่ระบุให้ซีคอมไพเลอร์เตรียมการทำงานที่กำหนดในส่วนนี้ไว้ โดยหน้าคำสั่งจะมีเครื่องหมาย # เช่น
# includeเป็นการระบุให้นำไฟล์ stdio.h มารวมกับไฟล์ที่เขียนขึ้นนี้ เพื่อที่จะสามารถใช้คำสั่งที่อยู่ในไฟล์นี้มาใช้งานได้ #define start 10เป็นการกำหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปร start โดยให้มีค่าเป็น 10 คำสั่ง #include เรียกว่า คอมไพล์เลอร์ไดเรคทีพ (Compiler directive)เป็นคำสั่งพิเศษสำหรับช่วยในการคอมไพล์โปรแกรมภาษาซี คำสั่งนี้เรียกมาจากส่วนอื่น จึงไม่ต้องลงท้ายด้วยเครื่องหมาย Semicolon ( ; ) แต่ต้องเขียนติดกัน ห้ามเว้นวรรคระหว่าง # กับ คำสั่ง
ส่วนที่ 2 ส่วนประกาศตัวแปร (declaration) ส่วนนี้เป็นการกำหนดชนิดของข้อมูลที่ต้องการใช้ในโปรแกรม ปกติจะอยู่ที่ส่วนต้นของฟังก์ชัน ซึ่งจะอยู่ก่อนคำสั่งอื่น ๆ ตัวอย่างของการประกาศตัวแปร เช่น int num; หมายถึง การกำหนดตัวแปรชื่อ num ให้เป็นตัวแปรชนิดเลขจำนวนเต็ม (integer) เช่น 2 , 5 , 1001 ... float score; หมายถึง การกำหนดว่าตัวแปร score เป็นข้อมูลชนิดเลขมีจุดทศนิยม (floating point)ซึ่งอาจมีค่า 0.23, 1.34 , 13.04 , -21.002 , …. ส่วนที่ 3 ส่วนของตัวโปรแกรม (Body ) ส่วนนี้จะต้องเริ่มต้นด้วยฟังก์ชันmain ( ) แล้วใส่เครื่องหมายกำหนดขอบเขตเริ่มต้นของตัวโปรแกรมคือ { หลังจาก นั้นใส่คำสั่งหรือฟังก์ชันต่าง ๆ โดยแต่ละคำสั่งหรือฟังก์ชันนั้น ๆ จะต้องปิดด้วยเครื่องหมาย ; เมื่อต้องการจบโปรแกรมให้ใส่เครื่องหมาย } ปิดท้าย ในส่วนของตัวโปรแกรมนี้ส่วนใหญ่จะประกอบกด้วยฟังก์ชันที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล ส่วนของการกำหนดค่าหรือคำนวณ และฟังก์ชันที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลหรืออาจจะเป็นฟังก์ชันย่อยที่เขียนขึ้นภายในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา { }ที่เรียกว่า บล็อก ซ้อนอยู่ภายในอีกชั้นหนึ่งก็ได้
เครื่องหมายต่าง ๆ ที่ควรทำความเข้าใจ { } - เป็นตัวกำหนดขอบเขตหรือบล็อกของฟังก์ชัน ( ) - เป็นการระบุตัวผ่านค่าหรืออาร์กิวเมนต์ให้กับฟังก์ชัน ถ้าภายในวงเล็บไม่มีข้อความใด ๆ แสดงว่าไม่มีตัวผ่านค่าที่ต้องการระบุสำหรับฟังก์ชันนั้น ๆ /*...*/ - เป็นการกำหนด comment หรือข้อความ ที่ไม่ต้องการให้คอมไพเลอร์ปฏิบัติงาน ซึ่งข้อความที่อยู่ภายใน เครื่องหมายนี้จะถือว่า ไม่ใช่คำสั่งปฏิบัติงาน
ตัวอย่างโปรแกรมที่ 1# include /* ส่วนหัวโปรแกรม */# include void main( ) /* ส่วนตัวโปรแกรม */{ clrscr(); printf("Hello, Good morning. \n"); getch();}เมื่อสั่ง Compile และ Run จะได้ผลลัพธ์ ดังนี้ Hello, Good morning.
ภาษาซีพัฒนาขึ้นโดย เดนนิส ริตชี แห่งศูนย์วิจัยเบลล์(Bell Laboratory) มลรัฐนิวเจอร์ซี สหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ.2515 โดยได้รับแนวคิดมาจากภาษาบี (B Language) และมีพัฒนาการ ดังนี้
- พ.ศ.2503 กำเนิดภาษา Algol 60พัฒนาโดยองค์การ International Committee)
- พ.ศ.2506กำเนิดภาษา CPL (Combined Programming Language) พัฒนาโดยมหาวิทยาลัย Cambridge)
- พ.ศ.2510กำเนิดภาษา BCPL (Basic Combined Programming Language) พัฒนาโดย Martin Richards มหาวิทยาลัย Cambridge)
- พ.ศ.2513กำเนิดภาษา B (B Language) พัฒนาโดย Ken Tompson แห่ง Bell Laboratory)
- พ.ศ.2515กำเนิดภาษา C (C Language) พัฒนาโดย Dennis Ritchie)
โครงสร้างพื้นฐานของภาษาซี
ภาษาซีเป็นภาษาโครงสร้างที่มีรูปแบบไวยากรณ์แน่นอน มีคำสั่งให้เลือกใช้งานตามลักษณะงานต่าง ๆ จำนวนมาก โครงสร้างของภาษาซีจะพิจารณาโปรแกรมเป็นส่วนย่อยหลาย ๆ ส่วนมาประกอบกันเข้าเป็นโปรแกรม เรียกส่วน ย่อย ๆ นั้นว่า ฟังก์ชัน (Function) ดังนั้นในโปรแกรมภาษาซีจึงประกอบด้วยฟังก์ชันหลายฟังก์ชันส่วนหนึ่งเป็นฟังก์ชันที่กำหนดตามไวยากรณ์ของภาษา และอีกส่วนหนึ่งเป็นฟังก์ชันที่ผู้เขียนโปรแกรมสร้างขึ้นก่อนที่จะเริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาซี เรามารู้จักกับโครงสร้างของภาษาซี เพื่อให้เข้าใจถึงลักษณะ รูปแบบและหน้าตาของการเขียนโปรแกรมภาษาซี ดังนี้ ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษาซี จะมีลักษณะที่เหมือนกัน แต่อาจจะแบ่งหรือกำหนดเป็นส่วนย่อยที่เรียกชื่อต่างกันไป ในที่นี้จะขอแบ่งโครงสร้างพื้นฐานของภาษาซีออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้# header ส่วนที่ 1{ /* เริ่มโปรแกรม */ main( ) ส่วนที่ 3 declaration ส่วนที่ 2 คำสั่งต่าง ๆ ………}ส่วนที่ 1 ส่วนหัวโปรแกรม (#header) เป็นส่วนแรกของโปรแกรมภาษาซีที่กำหนดไว้ก่อนที่จะมีการประมวลผลในโปรแกรมเรียกว่าพรีโพรเซสเซอร์(Preprocessor) เพื่ออ้างถึงไฟล์บางไฟล์ที่ไม่มีอยู่ในโปรแกรมที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นโดยที่จะต้องนำไฟล์เฮดเดอร์(#header)นั้นมารวมกับไฟล์ที่เขียนขึ้นเอง ในโปรแกรมภาษาซีที่ใช้งานจริงอาจจะมีการเรียกใช้ไฟล์เฮดเดอร์มากกว่า 1 ไฟล์ส่วนใหญ่ไฟล์เฮดเดอร์จะเกี่ยวกับฟังก์ชันของการจัดการ เช่นฟังก์ชันที่เกี่ยวกับการรับและแสดงผลข้อมูล หรือด้านกราฟิก เป็นต้น ดังนั้นส่วนหัวโปรแกรมนี้จึงเป็นส่วนที่ระบุให้ซีคอมไพเลอร์เตรียมการทำงานที่กำหนดในส่วนนี้ไว้ โดยหน้าคำสั่งจะมีเครื่องหมาย # เช่น
# include
ส่วนที่ 2 ส่วนประกาศตัวแปร (declaration) ส่วนนี้เป็นการกำหนดชนิดของข้อมูลที่ต้องการใช้ในโปรแกรม ปกติจะอยู่ที่ส่วนต้นของฟังก์ชัน ซึ่งจะอยู่ก่อนคำสั่งอื่น ๆ ตัวอย่างของการประกาศตัวแปร เช่น int num; หมายถึง การกำหนดตัวแปรชื่อ num ให้เป็นตัวแปรชนิดเลขจำนวนเต็ม (integer) เช่น 2 , 5 , 1001 ... float score; หมายถึง การกำหนดว่าตัวแปร score เป็นข้อมูลชนิดเลขมีจุดทศนิยม (floating point)ซึ่งอาจมีค่า 0.23, 1.34 , 13.04 , -21.002 , …. ส่วนที่ 3 ส่วนของตัวโปรแกรม (Body ) ส่วนนี้จะต้องเริ่มต้นด้วยฟังก์ชันmain ( ) แล้วใส่เครื่องหมายกำหนดขอบเขตเริ่มต้นของตัวโปรแกรมคือ { หลังจาก นั้นใส่คำสั่งหรือฟังก์ชันต่าง ๆ โดยแต่ละคำสั่งหรือฟังก์ชันนั้น ๆ จะต้องปิดด้วยเครื่องหมาย ; เมื่อต้องการจบโปรแกรมให้ใส่เครื่องหมาย } ปิดท้าย ในส่วนของตัวโปรแกรมนี้ส่วนใหญ่จะประกอบกด้วยฟังก์ชันที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล ส่วนของการกำหนดค่าหรือคำนวณ และฟังก์ชันที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลหรืออาจจะเป็นฟังก์ชันย่อยที่เขียนขึ้นภายในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา { }ที่เรียกว่า บล็อก ซ้อนอยู่ภายในอีกชั้นหนึ่งก็ได้
เครื่องหมายต่าง ๆ ที่ควรทำความเข้าใจ { } - เป็นตัวกำหนดขอบเขตหรือบล็อกของฟังก์ชัน ( ) - เป็นการระบุตัวผ่านค่าหรืออาร์กิวเมนต์ให้กับฟังก์ชัน ถ้าภายในวงเล็บไม่มีข้อความใด ๆ แสดงว่าไม่มีตัวผ่านค่าที่ต้องการระบุสำหรับฟังก์ชันนั้น ๆ /*...*/ - เป็นการกำหนด comment หรือข้อความ ที่ไม่ต้องการให้คอมไพเลอร์ปฏิบัติงาน ซึ่งข้อความที่อยู่ภายใน เครื่องหมายนี้จะถือว่า ไม่ใช่คำสั่งปฏิบัติงาน
ตัวอย่างโปรแกรมที่ 1# include
วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552
7. การเขียนโปรแกรมควบคุม การทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ควรเลือใช้ภาษาใด เพราะอะไร
คำตอบ ภาษา C Assembly หรือ Visual Basic 6.0/2005
6. จงอธิบายลักษณะของภาษาคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ
คำตอบ คือ ไม่ต้องสนใจถึงคำสั่งหรือลำดับของข้อมูลที่ถูกต้องผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์ สิ่งที่ต้องการลงในเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นคำหรือประโยค เหล่านั้นเพื่อความคำสั่งแต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้จะมี คำกลับมาถามผุ้ใช้ เพื่อยืนยันความถูกต้อง
5. ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นกี่ประเภท จงอธิบาย
คำตอบ = 4 ประเภท
1. บุคลากรคอมพิวเตอร์ทางด้านฮารด์แวร์ได้แก่ วิศวกรคอมพิวเตอร์ ช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ ผู้ดูแลระบบ
2. บุคลากรคอมพิวเตอร์ทางด้านซอฟแวร์ ได้แก่ โปรแกรมเมอร์ ทำหน้าที่สร้างและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้ทำงานตามข้อกำหนด
3. นักวิเคราะห์ระบบ ทำหน้าที่ศึกษาความต้องการของผู้ใช้แล้วเสนอแนะวิธีการทำงานใหม่เป็นระบบงานคอมพิวเตอร์
4. กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป
วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2552
4. ซอฟแวร์ประยุกต์ หมายถึงอะไร
คำตอบ หมายถึง โปรแกรมที่ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานอื่น ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่ไม่เกี่ยวกับตัวเครื่อง เช่น งานพิมพ์รายงานหรือข้อความ จงใช้โปรแกรมประเทศประมวลผลคำ
3. ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ หมายถึงอะไร
คำตอบ หมายถึง โปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบโดยเฉพาะส่วนที่ควบคุมและจัดการหน่วยความจำจัดการทำงานของผูใช้มาดำเนินการและจัดการการรับข้อมูลแสดงผล เช่น windows,linux,ms-dos
2. RAM,ROM มีความแตกต่างและมีประโยชน์อย่างไร
คำตอบ - ROM จะใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลแบบถาวร โดยติดตั้งมาจากโรงงงานไม่สามารถใส่ข้อมูลหรือลบข้อมูลได้
ในขณะที่ แรมจะเป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลแบบชั่วคราวเมื่อใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลหรือโปรแกรมนั้นจะลบไปทันที
- RAM เป็นหน่วยความจำหลักที่จำเฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น เมื่อใดก็ตามที่ไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ภายในหน่วยความจำชนิดนี้จะหายไปทันที
1. ยุกต์ของภาษาคอมพิวเตอร์ มีกี่ยุกต์ ยุกต์อะไรบ้าง
คำตอบ - ยุกต์ของภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (Pirst Generation Language : 1GL) เป็นภาษาระดับต่ำ (Low-Level Language) ประกอบด้วยเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ1 หรือเรียกว่า "ภาษาเครื่อง" ( Machine Language)
- ยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) ได้มีผู้พัฒนาให้มีการให้ใช้ลักษณะแทนตัวเลขฐานสอง เรียกว่า "ภาษาสัญลักษณ์" (Symbol Language) คือภาษาอังกฟา จะเป็นคำสั่งนั้น ๆ ที่จำได้ง่าย เรียกว่า "นิวมอนิกโค้ค" (Newmonic Code) ทำให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
- ยุคที่ 3 (Third Generation Languge : 3 GL) ภาษาสัญลักษณ์ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นทำให้สามารถแทนตัวเลขฐานสองได้เป็นคำ ทำให้กลายเป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจและเขียนได้ง่ายขึ้น คำสั่งสั้นและกระชับมากขึ้น เช่น ภาษา Basic,cobo2,Pascal
- ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4 GL) ได้พัฒนารูปแบบการเขียนโปรแกรมจากยุคที่ 3 ที่จัดว่าเป็นการเขียนแบบ Proedural ให้กลายเป็นการเขียนแบบ (Non-Procodaral) ที่สามารถกระโดดไปทำคำสั่งใดก่อนก็ได้ตามโปรแกรมที่เขียนไว้
- ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5 GL) เป็นภาษาที่ใช้สำหรับการพัฒนาซอฟแวร์ เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES)และประดิษฐ์ (ArtiFicial Intelligence : AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกว่า "ภาษาธรรมชาติ"(Natural Language) คือไม่ต้องสนใจถึงคำสั่งหรือลำดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นคำสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ ก็มีคำกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)