วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552

7. การเขียนโปรแกรมควบคุม การทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ควรเลือใช้ภาษาใด เพราะอะไร

คำตอบ ภาษา C Assembly หรือ Visual Basic 6.0/2005

6. จงอธิบายลักษณะของภาษาคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ

คำตอบ คือ ไม่ต้องสนใจถึงคำสั่งหรือลำดับของข้อมูลที่ถูกต้องผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์ สิ่งที่ต้องการลงในเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นคำหรือประโยค เหล่านั้นเพื่อความคำสั่งแต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้จะมี คำกลับมาถามผุ้ใช้ เพื่อยืนยันความถูกต้อง

5. ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นกี่ประเภท จงอธิบาย

คำตอบ = 4 ประเภท

1. บุคลากรคอมพิวเตอร์ทางด้านฮารด์แวร์ได้แก่ วิศวกรคอมพิวเตอร์ ช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ ผู้ดูแลระบบ

2. บุคลากรคอมพิวเตอร์ทางด้านซอฟแวร์ ได้แก่ โปรแกรมเมอร์ ทำหน้าที่สร้างและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้ทำงานตามข้อกำหนด

3. นักวิเคราะห์ระบบ ทำหน้าที่ศึกษาความต้องการของผู้ใช้แล้วเสนอแนะวิธีการทำงานใหม่เป็นระบบงานคอมพิวเตอร์

4. กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป

วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2552

4. ซอฟแวร์ประยุกต์ หมายถึงอะไร

คำตอบ หมายถึง โปรแกรมที่ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานอื่น ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่ไม่เกี่ยวกับตัวเครื่อง เช่น งานพิมพ์รายงานหรือข้อความ จงใช้โปรแกรมประเทศประมวลผลคำ

3. ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ หมายถึงอะไร

คำตอบ หมายถึง โปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบโดยเฉพาะส่วนที่ควบคุมและจัดการหน่วยความจำจัดการทำงานของผูใช้มาดำเนินการและจัดการการรับข้อมูลแสดงผล เช่น windows,linux,ms-dos

2. RAM,ROM มีความแตกต่างและมีประโยชน์อย่างไร

คำตอบ - ROM จะใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลแบบถาวร โดยติดตั้งมาจากโรงงงานไม่สามารถใส่ข้อมูลหรือลบข้อมูลได้

ในขณะที่ แรมจะเป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลแบบชั่วคราวเมื่อใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลหรือโปรแกรมนั้นจะลบไปทันที

- RAM เป็นหน่วยความจำหลักที่จำเฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น เมื่อใดก็ตามที่ไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ภายในหน่วยความจำชนิดนี้จะหายไปทันที

1. ยุกต์ของภาษาคอมพิวเตอร์ มีกี่ยุกต์ ยุกต์อะไรบ้าง

คำตอบ - ยุกต์ของภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (Pirst Generation Language : 1GL) เป็นภาษาระดับต่ำ (Low-Level Language) ประกอบด้วยเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ1 หรือเรียกว่า "ภาษาเครื่อง" ( Machine Language)

- ยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) ได้มีผู้พัฒนาให้มีการให้ใช้ลักษณะแทนตัวเลขฐานสอง เรียกว่า "ภาษาสัญลักษณ์" (Symbol Language) คือภาษาอังกฟา จะเป็นคำสั่งนั้น ๆ ที่จำได้ง่าย เรียกว่า "นิวมอนิกโค้ค" (Newmonic Code) ทำให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น

- ยุคที่ 3 (Third Generation Languge : 3 GL) ภาษาสัญลักษณ์ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นทำให้สามารถแทนตัวเลขฐานสองได้เป็นคำ ทำให้กลายเป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจและเขียนได้ง่ายขึ้น คำสั่งสั้นและกระชับมากขึ้น เช่น ภาษา Basic,cobo2,Pascal

- ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4 GL) ได้พัฒนารูปแบบการเขียนโปรแกรมจากยุคที่ 3 ที่จัดว่าเป็นการเขียนแบบ Proedural ให้กลายเป็นการเขียนแบบ (Non-Procodaral) ที่สามารถกระโดดไปทำคำสั่งใดก่อนก็ได้ตามโปรแกรมที่เขียนไว้

- ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5 GL) เป็นภาษาที่ใช้สำหรับการพัฒนาซอฟแวร์ เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES)และประดิษฐ์ (ArtiFicial Intelligence : AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกว่า "ภาษาธรรมชาติ"(Natural Language) คือไม่ต้องสนใจถึงคำสั่งหรือลำดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นคำสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ ก็มีคำกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง